Thailand’s First Assessment Report on Climate Change 2011 (1st -TARC) Volume 2

urban resilience

Thailand’s First Assessment Report On Climate Change 2011 (1st -TARC)
Working Group 2: Impacts, Vulnerability and Adaptation

year 2011

รายงานการสังเคราะห์และประมวลสถานภาพองค์ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของไทย ครั้งที่ 1
คณะทำงานกลุ่มที่ 2: องค์ความรู้ด้านผลกระทบ ความล่อแหลม และการปรับตัว
ปี พ.ศ.2554
Share on facebook
Facebook
Share on google
Google+
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn
Share on whatsapp
WhatsApp

(สำหรับภาษาไทย กรุณาเลื่อนลง)
Climate change made by man lead to the increase of greenhouse gas in atmosphere which increasingly affects the planet earth. The academic recognizes and also believes that the effects of climate change will be more severe when compared to the effects of climate change in the past. For the first time in Thailand, the knowledge assessment on climate change was synthesized. Thailand’s First Assessment Report on Climate Change 2011 was synthesized into three volumes;

1) Scientific Basis of Climate Change,
2) Impacts, Vulnerability and Adaptation, and
3) Greenhouse Gas Mitigation.

Urban Futures Research Unit involved in the working committee of the report volume 2. The assessment based on data, research and academic article in Thailand. The synthesis found that Thailand still lacks systematic study about climate change in the operational level, fieldwork level and simulation for impact and adaptation assessment.

Urban Futures Research Unit takes part in part 13th which is “Urban, Human Settlement and Infrastructure” which included several issues namely
- Human settlement and basic infrastructure in Thailand
- Human settlement and urban development regulations and policies
- The risk of city and community from climate factors
- Coping capacity and adaptability of city to reduce the risk of climate change
- Urban development vision

(ฉบับภาษาไทย)
การจัดทํารายงานเพื่อสังเคราะห์และประมวลสถานภาพองค์ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย ครั้งที่ 1 นี้ จะเป็นการนํารูปแบบการจัดทํารายงานของ IPCC model มาประยุกต์ใช้ โดยมีหลักการทํางานที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลางทางวิชาการ ในการสังเคราะห์ความรู้ ประเมินองค์ความรู้ และให้ข้อเสนอแนะ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานองค์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แก่สังคมไทย โดยมีกรอบงานครอบคลุมการวิเคราะห์ประเมิน (Assessment) และสังเคราะห์ (Synthesis) องค์ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย ซึ่งอาจรวมถึงการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่เป็นพื้นฐาน (Scientific Basis เช่น Climate Observation ในอดีตจนถึงปัจจุบัน) ผลกระทบ การปรับตัว ความล่อแหลม (Impacts, Adaptation and Vulnerability) และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย (Greenhouse Gas Mitigation) โดย ดําเนินการในลักษณะกลุ่มทํางานของนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานรัฐรวมกัน

กรอบการดําเนินงานกําหนดเป็น 3 กลุ่ม คือ

กลุ่ม 1: องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Working Group 1 Scientific Basis of Climate Change in Thailand: WGI)

กลุ่ม 2: องค์ความรู้ด้านผลกระทบ ความล่อแหลม และการปรับตัว (Working Group 2 Impacts, Vulnerability and Adaptation: WGII)

กลุ่ม 3: องค์ความรู้ด้านการลดก๊าซเรือนกระจก (Working Group 3 Greenhouse Gases Mitigation: WGIII)

โดยวิจิตรบุษบา มารมย์ มีส่วนร่วมในคณะทำงานกลุ่มที่ 2 ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ เมือง การตั้งถิ่นฐาน และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อประเมินองค์ความรู้ของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องระหว่างการพัฒนาเมือง การตั้งถิ่นฐาน และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศไทย

Research Team

Assoc.Prof. Wijitbusaba Marome (รศ.ดร.วิจิตรบุษบา มารมย์)

Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University

Research Fund

The Thailand Research Fund

publication